วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555

โอ่งมัีงกร

โอ่งมังกร


การทำโอ่งมังกรนั้น เริ่มจากช่างจีนซึ่งมีความชำนาญในการทำเครื่องเคลือบชื่อ นายจือเหม็ง แซ่อึ้ง โอ่งมังกรหรือโอ่งราชบุรีมีการผลิตมากที่สุดในประเทศไทย 
ช่วงปากโอ่ง นิยมเป็นลายดอกไม้หรือลายเครือเถา 
ช่วงลำตัว นิยมเขียนลายเป็นรูปมังกร และมังกรสองตัวเกี่ยวพันกัน ช่างเขียนต้องมีความชำนาญมาก

การเคลือบ

ผสมขี้เถ้าและน้ำโคลนและสีเล็กน้อยเป็นสีที่ได้จากออกไซด์ของเหล็ก การเคลือบ ใช้น้ำยาเคลือบราดให้ทั่วทั้งด้านในและด้านนอกแล้ว นำไปวางผึ่งลมไว้ 
นอกจากนี้น้ำยาที่เคลือบทำให้สีสวยเมื่อเผาช่วย สมานรอยต่างๆในเนื้อดินให้เข้ากัน


 เตาเผา

เรียกว่า ตาจีนหรือเตามังกร ก่อด้วยอิฐทนไฟ หัวเตาเจาะเป็นช่องประตู ลำเลียงโอ่ง ด้านบนของเตาสองข้างเจาะรู  เรียกว่า "ตา"เพื่อใช้ใส่เชื้อเพลิงก่อนเผาใช้อิฐปิดทางให้มิดชิด มิให้ความร้อนระบายออกมาได้ ความร้อนในเตาต้องมีอุณหภูมิถึง 12,000 องศาเซลเซียส ดูโอ่งรอจนกว่าจะสุก เสร็จแล้วทิ้งไว้ 10-12ชั่วโมง ปัจจุบันโอ่งมังกรส่งออกขายตามท้องตลาดทั่วประเทศ


อ้างอิง
http://rb-work.blogspot.com
























































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น